วิธี คิด ดอกเบี้ยทบต้น

สาย-sport-loop-pantip

ศ.

  1. วิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี
  2. ทำไมสูตรการคิดดอกเบี้ยแบบต่อเนื่อง (Continuous Compounding) ต้องมีตัว e หรือ exponential: วิธีพิสูจน์
  3. ความหมายของ “ดอกเบี้ยทบต้น”  และทำไมคุณถึงต้องรู้ - Smart Stock Investment

วิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกปี

1 สูตรที่คิดจากมูลค่าอนาคตหรือ FV และ 2.

กระทู้คำถาม สมมุติว่า เราฝากเงินเท่าๆกันทุกเดือน เดือนละ20000บาท ได้ดอกเบี้ย4%ต่อปี ไปประมาณ30ปี สุดท้าย จะมีเงินเท่าไหร่คะ พยายามหาสูตรคิด เเต่หาไม่เจอเลยคะ ขอบคุณคะ 0 แสดงความคิดเห็น คุณสามารถแสดงความคิดเห็นกับกระทู้นี้ได้ด้วยการเข้าสู่ระบบ กระทู้ที่คุณอาจสนใจ

  1. หลอดนีออนสี LED (ไฟนิ่งไม่กระพริบ) - ไฟประดับตกแต่ง ไฟประดับ ไฟปีใหม่ ไฟกระพริบ ต้นคริสมาส ไฟเส้นปีใหม่ LED โคมไฟประดับตกแต่ LED ไฟท่อสายยาง LEDง หลอดไฟ LED ไฟราวปิงปอง ไฟนีออนสี : Inspired by LnwShop.com
  2. การคิดดอกเบี้ย ด้วย Excel - YouTube
  3. โทรศัพท์ กัน น้ำ
  4. สีผ้าปูที่นอนที่ช่วยให้นอนหลับเร็วและลึกได้อย่างไร | Beneath – Beneath.
  5. นนท์พร้อมเปิด "ลงทะเบียนฉีดวัคซีน" เข็ม 3 "โมเดอร์นา" 2 วันเท่านั้น

ทำไมสูตรการคิดดอกเบี้ยแบบต่อเนื่อง (Continuous Compounding) ต้องมีตัว e หรือ exponential: วิธีพิสูจน์

ทำไมคุณต้องเข้าใจน่ะรึ?

วิธีคิดดอกเบี้ยทบต้นทุกเดือน
การคิดดอกเบี้ย ด้วย Excel - YouTube

กับนาย ข. คนสองคนนี้ตอนอายุ 20 มีเงินเก็บเท่ากันเลย คือ 1, 000, 000 บาท (PV = 1, 000, 000) ธนาคารบอกผมให้ทางเลือกลงทุน 2 แบบ แบบแรก เป็น ดอกเบี้ยไม่ทบต้น ธนาคารบอกให้ผลตอบแทน 25% ต่อปีเลย แบบสอง เป็น ดอกเบี้ยทบต้น ธนาคารบอกให้ผลตอบแทนแค่ 7% ต่อปี (r = 7%) นาย ก. นึกในใจ "เออจริงๆก็ได้ยินมาว่าดอกเบี้ยทบต้นมันเจ๋งมาก หลักการก็ดูดีอยู่ แต่ไอห่า แบบแรกนี่กูฝากเงินไปแค่สี่ปีได้ดอกเบี้ยเป็นล้าน ส่วนแบบสองนี่ มันทบต้นสิบปียังไม่รู้ได้ดอกเบี้ยถึงล้านบาทรึยัง" คิดได้ดังนั้น ตัดสินใจเอาแบบแรกทันที ส่วนนาย ข. เลือกเอาแบบที่สอง จริงๆไม่รู้เรื่องอะไร พอดีวันนั้นงงๆ ขี้เกียจคิด มารู้ตัวอีกทีเกษียณครับ อายุ 60 ปีละ หรือก็คือ 40 ปีต่อมา (n = 40) นาย ก. ไปเช็คเงินก้อนนั้นที่ธนาคาร ปรากฏว่ามีเงินอยู่ 1, 000, 000 + (250, 000 X 40) = 1, 000, 000 + 10, 000, 000 = 11, 000, 000 บาท เงินตอนแรกสุด + (ดอกเบี้ยที่ได้ต่อปี (25% ของ เงินตอนแรกสุด) X 40 ปี) ส่วนนาย ข. ไปเช็คเงินพร้อมเพื่อน จะพบว่ามีเงินอยู่ 1, 000, 000 X (1. 07^40) = 14, 974, 457 บาท หรือประมาณๆ เกือบ 15, 000, 000 บาท นาย ข. ในวัยเกษียณมีเงินฝากมากกว่า นาย ก.

ความหมายของ “ดอกเบี้ยทบต้น”  และทำไมคุณถึงต้องรู้ - Smart Stock Investment

10}{2} \right)}^{2}}=1, 102. 5 $ บาท ตัวอย่างของการคิดดอกเบี้ยแบบไม่ต่อเนื่อง เช่น การฝากเงิน การกู้เงิน การจ่ายดอกเบี้ยของตราสารหนี้ หรือการคำนวณหามูลค่าของตราสารทางการเงินโดยส่วนใหญ่ ในประเด็นเรื่องความถี่ในการจ่ายดอกเบี้ยต่อปีมีข้อสังเกตสำคัญคือ ยิ่งมีความถี่ในการจ่ายดอกเบี้ยมาก มูลค่าเงินในอนาคตก็จะยิ่งสูงขึ้นตามไปด้วย วิธีอัตราดอกเบี้ยแบบต่อเนื่อง (Continuous Compounding) ใช้ exponential ยกกำลัง จากตัวอย่างเดิมในย่อหน้าที่แล้ว ถ้าเปลี่ยนอัตราดอกเบี้ย 10% เป็นแบบต่อเนื่อง มูลค่าอนาคตในอีก 1 ปีข้างหน้าหรือ $F{{V}_{1}}=PV\times {{e}^{rt}}=1, 000\times {{e}^{0. 10\times 1}}=1, 105.

03 × 100) –> 100 (1 + 0. 03) จากข้างบนจะเห็นว่า เมื่อผ่านไปหนึ่งปี เงินจะโตเท่าไหร่หาได้จากการเอา เงินต้น x (1 + อัตราดอกเบี้ยทบต้น) แล้วถ้าผ่านไปอีก 1 ปีล่ะ ปีที่ 1 ปีที่ 2 เงินต้นจ่ากปีก่อน + ดอกเบี้ยที่ได้ในปีนั้น [100 (1 + 0. 03)] –> [100 (1 + 0. 03)] + (3% × [100 (1 + 0. 03)]) –> [100 (1 + 0. 03)] + (0. 03 × [100 (1 + 0. 03)] (1 + 0. 03) –> 100 (1 + 0. 03) 2 คุณจะเห็นได้ว่า ถ้าคุณจะหาเงินในอนาคตเมื่อผ่านไป 1 ปี จะได้เท่ากับ 100 (1 + 0. 03) คุณจะเห็นได้ว่า ถ้าคุณจะหาเงินในอนาคตเมื่อผ่านไป 2 ปี จะได้เท่ากับ 100 (1 + 0. 03) 2 คุณจะเห็นได้ว่า ถ้าคุณจะหาเงินในอนาคตเมื่อผ่านไป 3 ปี จะได้เท่ากับ 100 (1 + 0. 03) 3 จึงเป็นที่มาสูตรว่า เงินอนาคต = เงินต้น (1 + อัตราดอกเบี้ยทบต้น) จำนวนหน่วยเวลา FV = PV (1 + r) n แล้วเราก็ลองมาใช้กับปัญหาตอนแรกที่ผมให้เลือกว่าจะให้ใครยืมเงิน คุณจะตัดสินใจเลือกโดยหาว่า r ของการให้สองคนนี้ยืมเงิน คนไหนให้ r มากกว่ากัน คนแรกบอก ถ้าให้เค้ายืม 1, 000, 000 บาทนะ อีก 4 ปี เค้าจะคืนคุณเป็นเงิน 1, 356, 400 บาท 1, 356, 400 = 1, 000, 000 (1 + r) 4 r = ใช้ excel หรืออะไรหาค่าเอาครับ จะได้ r = 7.

92% ต่อปี คนที่สองบอก ถ้าให้เค้ายืม 1, 000, 000 บาทนะ อีก 6 ปี เค้าจะคืนคุณเป็นเงิน 1, 500, 730 บาท 1, 500, 730 = 1, 000, 000 (1 + r) 6 ใช้ excel หรืออะไรหาค่าเอาครับ จะได้ r = 7% ต่อปี จะเห็นว่าลงทุนกับคนแรกจริงๆได้เยอะกว่าครับ และคุณก็สามารถเอาสูตรนี้ไปหาอย่างอื่นได้เช่น เอาไปหาราคาเป้าหมายที่คุณจะซื้อหุ้นครับ สมมติถ้าคุณรู้ว่าอนาคตหุ้นตัวนี้อีก 5 ปีน่าจะมีราคาประมาณ 150 บาท คุณวางแผนอยากได้ผลตอบแทนต่อปีซัก 10% คุณก็แค่แทนค่าหา PV ว่าคุณต้องซื้อที่ราคาอะไรถึงจะได้ 10% ต่อปีเป็นระยะเวลา 5 ปี 150 = PV (1 + 0. 1) 5 PV = แก้สมการหา PV กรณีนี้ได้ 93. 12 บาท แปลว่า ถ้าคุณคิดว่าหุ้นนี้จะราคา 150 บาทใน 5 ปีข้างหน้า แล้วคุณอยากได้ 10% ต่อปี แปลว่าคุณต้องซื้อตอนนี้ที่ 93. 12 บาทครับ มาถึงตอนนี้คุณก็จะทราบที่มาของสูตรคำนวนหา PV, FV, n หรือ r ละครับ แน่นอนว่าคุณสามารถใช้เครื่องคิดเลขไฟแนนซ์ก็จะทำได้ง่ายไม่ต้องตั้งสมการอะไร แต่ผมอยากให้คุณเข้าใจเอาไว้ เพราะอนาคตถ้าคุณไปคำนวนหาผลตอบแทนพวกกรมธรรม์ประกันชีวิต หรืออะไรพวกนี้ มันต้องใช้ความเข้าใจพื้นฐานที่ดีครับไม่งั้นทำไม่ได้ ขอบคุณที่ตั้งใจอ่านครับ

สามล้านเกือบสี่ล้านบาทครับ นิทานเรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ดอกเบี้ยทบต้น โตไวกว่าดอกเบี้ยธรรมดาเยอะครับ

วิธีคิดดอกเบี้ยทบต้น