คํา อุทาน มี กี่ ชนิด | คำไทย 7 ชนิด - ห้องเรียนครูขวัญใจ อาษากิจ

amazfit-gts-ด-ไหม

ความหมายของคำอุทาน คำอุทาน หมายถึง คำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์และความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด ชนิดของคำอุทาน หลักภาษาไทยได้แบ่งคำอุทานออกเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. อุทานบอกอาการ คือ คำที่บอกอารมณ์หรือความรู้สึกต่าง ๆ ของผู้พูด คำอุทานชนิดนี้มักอยู่หน้าประโยค และมีเครื่องหมายอัศเจรีย์ (! ) กำกับอยู่ท้ายคำอุทาน แบ่งเป็น ๑. ๑ อาการร้องเรียกหรือบอกให้รู้ตัว เช่น นี่แน่ะ! เฮ้ย! โว้ย! ๑. ๒ อาการโกรธเคือง เช่น ดูดู๋! ชะๆ! ชิๆ! ๑. ๓ อาการประหลาดใจหรือตกใจ เช่น เอ๊ะ! ว๊าย! แม่เจ้าโว้ย! ๑. ๔ อาการสงสารหรือปลอบโยน เช่น อนิจจา! พุธโธ่! ๑. ๕ อาการเข้าใจหรือรับรู้ เช่น เออ! เออน่ะ! อ้อ! ๑. ๖ อาการเจ็บปวด เช่น โอย! โอ๊ย! ๑. ๗ อาการจากสิ่งธรรมชาติ เช่น ตูม! โครม! เปรี้ยง! ๒. อุทานเสริมบท คือ คำที่นำมาเสริมเพื่อให้เกิดความสละสลวยขึ้น ๒. ๑ มักเป็นคำคู่ที่มีเสียงสัมผัสคล้องจองกัน เช่น หนังสือ หนังหา อาบน้ำ อาบท่า กินข้าว กินปลา ๒. ๒ ไม่นิยมใส่เครื่องหมายอัศเจรีย์ (! ) กำกับ ๒. ๓ คำสร้อยในบทร้อยกรองก็จัดเป็นคำอุทานเสริมบท ได้แก่คำว่า แฮ เอย เทอญ นา ฤา โอ้ว่า แล เฮย เช่น เสียงรือเสียงเล่าอ้าง อันใด พี่ เอย หน้าที่ของคำอุทาน ๑.

ไวยากรณ์จีน พื้นฐานโครงสร้างประโยคจีนทั้งหมด | เรียนภาษาจีนฟรี ด้วยตัวเอง

อาการนาม คือ คำนามที่บอกกิริยาอาการหรือความปรากฏเป็นต่าง ซึ่งมีคำ "การ" "ความ"นำหน้า ตัวอย่าง - การเดินทางในครั้งนี้ปลอดภัยเป็นอย่างยิ่ง - ความรักทำให้คนตาบอด - การ ใช้นำหน้าคำกริยา เช่น การเดิน การวิ่ง การพูด การเจรจา การอ่าน การทำงาน การกิน ฯลฯ - ความ ใช้นำหน้าคำวิเศษณ์และคำกริยาเกี่ยวกับจิตใจ เช่น ความดี ความรัก ความสวย ความเจริญ ความสุข ความคิด ความฝัน ความเข้าใจ ฯลฯ คำสรรพนาม คือ คำที่ใช้แทนคำนามที่ผู้พูดหรือผู้เขียนได้กล่าวแล้ว หรือเป็นที่เข้าใจกันระหว่างผู้ฟังและผู้พูด เพื่อไม่ต้องกล่าวคำนามซ้ำ คำสรรพนามแบ่งเป็น ๖ ชนิด ดังนี้ ๑. บุรุษสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนในการพูดจา แบ่งเป็น ๓ พวก คือ - สรรพนามบุรุษที่ ๑ หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนตัวผู้พูด เช่น ฉัน ผม กระผม ข้าพเจ้า กู เราอาตมา ข้าพระพุทธเจ้า ฯลฯ - สรรพนามบุรุษที่ ๒ หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้ฟัง เช่น เธอ ท่าน คุณ มึง เอ็ง ลื้อ แกใต้เท้า พระองค์ - สรรพนามบุรุษที่ ๓ หมายถึง คำสรรพนามที่ใช้แทนชื่อผู้ที่พูดถึง หรือสิ่งที่กล่าวถึง เช่น เขา มัน แกท่าน หล่อน พระองค์ ฯลฯ ๒. ประพันธสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามหรือคำสรรพนามที่อยู่ข้างหน้า และประโยค ทำหน้าที่เชื่อมประโยค ๒ ประโยคให้มีความสัมพันธ์กัน ได้แก่ คำ ที่ ซึ่ง อัน ผู้ เช่น ตัวอย่าง - ฉันชอบคนที่มีมารยาทดี - นักเรียนซึ่งนั่งอยู่ในห้องพักครูมีมารยาทดี - บทเพลงอันไพเราะย่อมเป็นที่ประทับใจผู้ฟัง - ครูผู้เสียสละเพื่อนักเรียนสมควรได้รับการยกย่อง ๓.

  • ชนิดของคำ – kamonchanart2
  • ชนิดของคำ - GotoKnow
  • คำไทย 7 ชนิด - ห้องเรียนครูขวัญใจ อาษากิจ
  • จอ benq 60hz
  • Indirect Speech - Engnow.in.th เรียนภาษาอังกฤษออนไลน์

คําอุทานมีกี่ชนิด

วิภาคสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามเพื่อแบ่งพวก หรือรวมพวก ได้แก่ คำ บ้าง ต่าง กัน ตัวอย่าง - นักเรียนบ้างก็เล่นบ้างก็คุยในชั้นเรียน - ชาวบ้านต่างช่วยกันเก็บขยะในบริเวณวัด - ญาติพี่น้องนั่งคุยกัน ๔. นิยมสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่แสดงความชี้เฉพาะเจาะจง ได้แก่ คำ นี่ นั่น โน่น เช่น ตัวอย่าง - นี่คือโรงเรียนของฉัน - นั่นเขากำลังเดินมา - โน่นคือบ้านของเขาู่ ๕. อนิยมสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่บอกความไม่เจาะจง ได้แก่ คำ ใคร อะไร ไหน อย่างไร อะไร ๆ ผู้ใด ๆ ใด ๆ ซึ่งไม่ใช่คำถาม ตัวอย่าง - เขาชอบพูดโกหกจนไม่มีใครเชื่อเขาอีกแล้ว - อะไรก็ไม่สำคัญเท่ากับการได้พักผ่อน - ผู้ใดไม่ต้องการก็ไม่เป็นไร ๖. ปฤจฉาสรรพนาม คือ คำสรรพนามที่ใช้แทนคำนามที่มีความหมายเป็นคำถาม ได้แก่ คำ อะไร ใคร อย่างไร ทำไม ผู้ใด ตัวอย่าง - เธอชอบเรียนอะไรมากที่สุด - ใครนั่งอยู่ในห้องเรียนตอนพักกลางวัน - ทำไมไม่เข้าห้องเรียน คำอุทาน คือคำที่เปล่งออกมาเพื่อแสดงอารมณ์ ความรู้สึกของผู้พูด ซึ่งอาจเปล่งออกมาในขณะที่ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ คำอุทานส่วนมากไม่มีความหมายตรงตามถ้อยคำ แต่จะมีความหมายเน้นความรู้สึก และอารมณ์ของผู้พูดเป็นสำคัญ คำอุทานแบ่งออกเป็น ๒ จำพวก ดังนี้ี้ ๑.

Interjection คำอุทาน ในภาษาอังกฤษ กับวิธีการใช้ - แปลภาษาไทย เป็น ภาษาอังกฤษ

ฉันลืมเอากระเป๋าสตางค์มา - โธ่! เธอคงจะหนาวมากละซิ - เอ๊ะ! ใครกันที่นำดอกไม้มาวางไว้ที่โต๊ะของฉัน ๒. ทำหน้าที่เพิ่มน้ำหนักของคำ ซึ่งได้แก่คำอุทานเสริมบท เช่น - ทำเสร็จเสียทีจะได้หมดเรื่องหมดราวกันไป - เมื่อไรเธอจะหางงหางานทำเสียที - เธอเห็นฉันเป็นหัวหลักหัวตอหรืออย่างไร ๓. ทำหน้าที่ประกอบข้อความในคำประพันธ์ เช่น - แมวเอ๋ยแมวเหมียว - มดเอ๋ยมดแดง - กอ เอ๋ย กอไก่

คำอุทาน ความหมายของคำอุทาน คำอุทาน หมายถึง คำที่แสดงอารมณ์ของผู้พูดในขณะที่ตกใจ ดีใจ เสียใจ ประหลาดใจ หรืออาจจะเป็นคำที่ใช้เสริมคำพูด เช่นคำว่า อุ๊ย เอ๊ะ ว้าย โธ่ อนิจจา อ๋อ เป็นต้น เช่น - เฮ้อ! ค่อยยังชั่วที่เขาปลอดภัย - เมื่อไรเธอจะตัดผมตัดเผ้าเสียทีจะได้ดูเรียบร้อย ชนิดของคำอุทาน คำอุทานแบ่งเป็น ๒ ชนิด ดังนี้ ๑. คำอุทานบอกอาการ เป็นคำอุทานที่แสดงอารมณ์ และความรู้สึกของผู้พูด เช่น ตกใจ ใช้คำว่า วุ้ย ว้าย แหม ตายจริง ประหลาดใจ ใช้คำว่า เอ๊ะ หือ หา รับรู้ เข้าใจ ใช้คำว่า เออ อ้อ อ๋อ เจ็บปวด ใช้คำว่า โอ๊ย โอย อุ๊ย สงสาร เห็นใจ ใช้คำว่า โธ๋ โถ พุทโธ่ อนิจจา ร้องเรียก ใช้คำว่า เฮ้ย เฮ้ นี่ โล่งใจ ใช้คำว่า เฮอ เฮ้อ โกรธเคือง ใช้คำว่า ชิชะ แหม ๒. คำอุทานเสริมบท เป็นคำอุทานที่ใช้เป็นคำสร้อยหรือคำเสริมบทต่างๆ คำอุทานประเภทนี้บางคำเสริมคำที่ไม่มีความหมายเพื่อยืดเสียงให้ยาวออกไป บางคำก็เพื่อเน้นคำให้กระชับหนักแน่น เช่น - เดี๋ยวนี้มือไม้ฉันมันสั่นไปหมด - หนังสือหนังหาเดี๋ยวนี้ราคาแพงมาก - พ่อแม่ไม่ใช่หัวหลักหัวตอนะ หน้าที่ของคำอุทาน มีดังนี้คือ ๑. ทำหน้าที่แสดงความรู้สึกของผู้พูด เช่น - ตายจริง!

แบบทดสอบ คำอุทาน - GotoKnow

เพิ่มเติมความรู้ คำอุทาน ในภาษาจีน สิ่งที่พึงสังเกตคือ คำอุทานคำเดียวกัน หากออกเสียงตามวรรณยุกต์ที่แตกต่างกัน ความหมายทางอารมณ์ก็จะต่างกันไปด้วย Share This Story, Choose Your Platform! Page load link